โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

ตรวจไม่พบ เท่ากับ ไม่แพร่เชื้อ

U=U ตรวจไม่พบ เท่ากับ ไม่แพร่เชื้อ

U=U (Undetectable = Untransmittable) หรือ “ตรวจไม่พบ เท่ากับ ไม่แพร่เชื้อ” เป็นแนวคิดที่เปลี่ยนแปลงทัศนคติและความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ชีวิตของผู้ติดเชื้อเอชไอวีอย่างสิ้นเชิง จากในอดีตที่การติดเชื้อเอชไอวีถูกมองว่าเป็น “โรคร้ายแรงที่รักษาไม่หาย” มาสู่ยุคปัจจุบันที่ผู้ติดเชื้อสามารถมีคุณภาพชีวิตที่ดีและไม่แพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้ หากได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม U=Uเป็นแนวคิดทางการแพทย์ที่มีความสำคัญอย่างยิ่งในการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี และการลดการตีตราในสังคม ความหมายของ U=U U=Uย่อมาจาก “Undetectable = Untransmittable” ซึ่งแปลเป็นไทยได้ว่า “ตรวจไม่พบ = ไม่แพร่เชื้อ” โดยมีความหมายดังนี้ ความสำคัญของแนวคิดU=U อย่างไรก็ตาม สิ่งสำคัญคือผู้ติดเชื้อต้องได้รับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ตรวจติดตามอย่างสม่ำเสมอ และรักษาระดับไวรัสให้อยู่ในระดับที่ตรวจไม่พบอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้แนวคิด U=Uมีผลในทางปฏิบัติ เงื่อนไขสำคัญของ U=U เงื่อนไขทั้งสามนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อความสำเร็จของแนวคิด U=Uผู้ติดเชื้อต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดเพื่อให้มั่นใจว่าจะไม่แพร่เชื้อให้ผู้อื่น และเพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองด้วย หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ การศึกษาวิจัยหลายชิ้นได้ยืนยันแนวคิดนี้ โดยเฉพาะงานวิจัยสำคัญ เช่น งานวิจัยเหล่านี้ให้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์ที่แข็งแกร่งสนับสนุนแนวคิดU=U โดยแสดงให้เห็นว่าผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่ได้รับการรักษาจนมีปริมาณไวรัสต่ำมากจนตรวจไม่พบ ไม่สามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นผ่านการมีเพศสัมพันธ์ได้ ผลการศึกษาเหล่านี้นำไปสู่การยอมรับแนวคิด U=Uในวงการแพทย์และสาธารณสุขทั่วโลก ข้อดีของการตรวจไม่พบเท่ากับไม่แพร่เชื้อ ความสำคัญต่อสาธารณสุข แนวคิดU=U มีความสำคัญต่องานสาธารณสุขหลายด้าน แนวคิด U=Uจึงมีความสำคัญอย่างมากในการควบคุม และยุติปัญหาเอดส์ในระดับสาธารณสุข U=U … Read more

Categories U=U
เริมที่ปาก สิ่งที่คุณควรรู้เกี่ยวกับโรคนี้

เริมที่ปาก สิ่งที่คุณควรรู้เกี่ยวกับโรคนี้

เริมที่ปาก เป็นโรคติดเชื้อไวรัสที่พบได้บ่อยในประชากรทั่วไป แม้จะไม่ใช่โรคร้ายแรง แต่ก็สามารถสร้างความรำคาญและความไม่สบายให้กับผู้ป่วยได้ไม่น้อย บทความนี้จะให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับเริมที่ปาก ตั้งแต่สาเหตุ อาการ การวินิจฉัย การรักษา ไปจนถึงวิธีการป้องกัน สาเหตุของเริมที่ปาก เริมที่ปากเกิดจากการติดเชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ซิมเพล็กซ์ (Herpes Simplex Virus หรือ HSV) ซึ่งมีสองชนิดหลัก ได้แก่ การติดต่อ ไวรัสนี้แพร่กระจายได้ผ่านการสัมผัสโดยตรงกับบริเวณที่ติดเชื้อ เช่น อาการของ เริมที่ปาก อาการของเริมที่ปากมักเกิดขึ้นเป็นระยะๆ โดยมีขั้นตอนดังนี้: ปัจจัยกระตุ้น ปัจจัยที่อาจกระตุ้นให้เกิดการกำเริบของเริมที่ปาก ได้แก่ การวินิจฉัย แพทย์สามารถวินิจฉัยเริมที่ปากได้จาก การป้องกัน เริมที่ปาก การป้องกันที่ดีที่สุดคือการลดความเสี่ยงในการติดเชื้อและการกำเริบ การรักษา เริมที่ปาก แม้ว่าจะไม่มีวิธีรักษาให้หายขาด แต่มีวิธีจัดการอาการและลดระยะเวลาการเกิดแผลได้ ดังนี้ คำถามที่พบบ่อย (FAQs) เพื่อให้ข้อมูลครบถ้วนยิ่งขึ้น เรามาดูคำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับเริมที่ปากกัน คำถาม คำตอบ เริมที่ปากสามารถหายขาดได้หรือไม่ ? ไม่สามารถหายขาดได้ เนื่องจากไวรัสจะอยู่ในร่างกายไปตลอด แต่สามารถควบคุมอาการ ลดความถี่ของการกำเริบได้ เริมที่ปากติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้หรือไม่ ? ได้ โดยเฉพาะในกรณีของการมีเพศสัมพันธ์ทางปาก … Read more

โรคหนองในเทียม (Chlamydia) โรคฮิตที่มากับเพศสัมพันธ์

โรคหนองในเทียม (Chlamydia) โรคฮิตที่มากับเพศสัมพันธ์

โรคหนองในเทียม (Non-gonococcal urethritis: NGU) คือ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (STD) ที่เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย คลามัยเดีย ทราโคมาทิส (Chlamydia trachomatis) พบได้บ่อยในกลุ่มวัยรุ่นไปจนถึงวัยทำงาน บางรายอาการของโรคจะไม่แสดงให้เห็นชัด แต่สามารถแพร่กระจายไปติดกับผู้อื่นต่อได้หากมีเพศสัมพันธ์แบบไม่ได้ป้องกัน โรคหนองในเทียมติดต่อกันได้อย่างไร ? โรคหนองในเทียมแพร่กระจายคล้ายโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ ดังนี้ โรคหนองในเทียม อาการเป็นอย่างไร ? อาการของหนองในเทียมอาจแตกต่างกันไปในแต่ละคน ดังต่อไปนี้ ผู้ชาย ผู้หญิง มีหนองไหลออกมาจากอวัยวะเพศ ตกขาวผิดปกติ อาจเป็นสีเหลือง สีเขียว หรือมีกลิ่นเหม็น แสบร้อน หรือคันที่อวัยวะเพศ ปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะแสบขัด ปวดท้องน้อย เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์ เลือดออกระหว่างรอบเดือน อัณฑะบวม เจ็บขณะมีเพศสัมพันธ์ ภาวะแทรกซ้อนของโรคหนองในเทียม โรคหนองในเทียมหากไม่ได้รับการรักษา อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงได้ เช่น โรคหนองในเทียมการวินิจฉัย แพทย์จะวินิจฉัยโรคหนองในเทียม โดยพิจารณาจาก ผลตรวจของโรคหนองในเทียม การรักษา โรคหนองในเทียม หนองในเทียมสามารถรักษาให้หายขาดได้ด้วยยาปฏิชีวนะ แพทย์จะสั่งยาให้คุณตามอาการ และความรุนแรงของโรค โดยทั่วไปแล้ว ยาที่ใช้รักษาหนองในเทียมมีดังนี้ … Read more

เรื่องที่มักเข้าใจผิด เกี่ยวกับโรคเอดส์ และผู้ติดเชื้อ HIV

เรื่องที่มักเข้าใจผิด เกี่ยวกับโรคเอดส์ และผู้ติดเชื้อ HIV

ถึงแม้ว่าโรคเอดส์ และเชื้อเอชไอวี ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยจะมีมานานมากแล้ว แต่คนส่วนใหญ่ก็ยังมีความรู้ เรื่องที่มักเข้าใจผิด เกี่ยวกับโรคเอดส์ และเชื้อเอชไอวี ทำให้ปัจจุบันต้องมีการให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับโรคเอดส์ และเชื้อเอชไอวี หรือการเผยแพร่ความรู้ใหม่ ๆ อยู่อย่างต่อเนื่อง เอชไอวี คืออะไร เชื้อเอชไอวี (Human Immunodeficiency Virus) คือ ไวรัสที่จะเข้าไปกัดกินทำลายเซลล์เม็ดเลือดขาว ทำให้ภูมิคุ้มกันบกพร่อง โรคเอดส์ คืออะไร เอดส์ (Acquired Immunodeficiency Syndrome – AIDS) คือ กลุ่มอาการของการติดเชื้อโรคแทรกซ้อนต่างๆ เมื่อระบบภูมิคุ้มกันของร่งกายถูกเชื้อเอชไอวีทำลายจนไม่สามารถต้านทานเชื้อโรคที่เข้าสู่ร่างกายเหล่านี้ได้ สาเหตุการติดเชื้อเอชไอวี สามารถติดเชื้อเอชไอวี โดยการสัมผัสกับเลือด น้ำอสุจิ ของเหลวจากช่องคลอด หรือแม้แต่น้ำนมแม่ สาเหตุการแพร่เชื้อส่วนใหญ่มาจากการมีเพศสัมพันธ์และการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน หรือส่งผ่านจากแม่สู่ลูกระหว่างการตั้งครรภ์ โรคเอดส์ กับ เชื้อ HIV เป็นคนละตัวกัน HIV คือ เชื้อไวรัสที่ก่อให้เกิดโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง  ส่วนโรคเอดส์ คือ โรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นหลังภูมิคุ้มกันบกพร่องที่เชื้อเอชไอวีทำลาย โรคเอดส์ ยังมีโอกาสรอดชีวิต ปัจจุบัน ยังไม่มียาที่รักษาโรคเอดส์ได้โดยตรง แต่ถ้าหากตรวจพบในระยะที่ยังเป็นการติดเชื้ออยู่ สามารถทานยาต้านไวรัส เพื่อไม่ให้เชื้อไวรัสเข้าไปทำร้ายภูมิคุ้มกันในร่างกาย … Read more

หูดหงอนไก่ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่น่ากลัวไม่แพ้โรคเอื่นๆ

“หูดหงอนไก่” โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่น่ากลัวไม่แพ้โรคเอื่นๆ

หูดหงอนไก่ เป็นหูดที่พบได้บ่อยบริเวณอวัยวะเพศ โดยเกิดจากเชื้อไวรัส ‘HPV’ (Human Papilloma Virus) จัดว่าเป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบได้บ่อยมากที่สุด ส่วนใหญ่จะพบในช่วงวัยที่กำลังเจริญพันธุ์ คือ ช่วงอายุ 17 – 33 ปี ทั้งชายและหญิง แต่พบได้ในเพศหญิงเสียมากกว่า บางครั้งหูดหงอนไก่ อาจเรียกในชื่ออื่นได้อีกว่า หงอนไก่ , หูดอวัยวะเพศ หรือหูดกามโรค ปัจจุบันมีการค้นพบสายพันธุ์ของไวรัส HPV ได้ประมาณ 100 สายพันธุ์ย่อย บางสายพันธุ์อาจทำให้เกิดหูดที่บริเวณผิวหนัง บางสายพันธุ์ก็อาจทำให้เกิดหูดหงอนไก่ ส่วนบางสายพันธุ์ก็จะเข้าไปทำให้เกิดความเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็งในระบบสืบพันธุ์ อาทิ มะเร็งปากมดลูก อีกทั้งยังเสี่ยงที่จะทำให้เกิดมะเร็งทวารหนักได้อีกด้วย ปริมาณ 90% ของผู้ที่เป็นหูดหงอนไก่นั้นพบว่าเกิดจากเชื้อไวรัส HPV 6 และ 11 ซึ่งเป็นสายพันธุ์ย่อย ความเสี่ยงที่เชื้อไวรัสนี้จะเข้าไปทำให้เกิดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งค่อนข้างต่ำ เชื้อ HPV ในชนิดที่จะทำให้เกิดโรคมะเร็งในระบบสืบพันธุ์และทางเดินอุจจาระก็คือ HPV 16 และ 18 ในระยะเริ่มต้น เมื่อผิวหนังได้รับเชื้อ หรือติดเชื้อ HPV ผ่านทางรอยถลอกที่ผิวหนัง ก็จะมีระยะฟักตัวของเชื้อที่ยังไม่แสดงอาการว่าเป็นโรคใดโรคหนึ่งเป็นเวลาหลายเดือน … Read more

โรคซิฟิลิส (SYPHILIS) อันตรายแต่ป้องกันได้

โรคซิฟิลิส (SYPHILIS) อันตรายแต่ป้องกันได้

โรคซิฟิลิส เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรียที่ส่วนมากจะติดระหว่างที่มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ใช้ถุงยางอนามัย โดยจะมีอาการที่เห็นได้ชัดคืออยู่ ๆ ร่างกายจะมีผื่นขึ้นที่ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ตามแขน ตามลำตัว หรือขึ้นพร้อมกันในบริเวณทั้งหมดที่กล่าวมา หากมีอาการดังกล่าวก็ควรเข้าพบแพทย์และรักษาให้หายขาดโดยเร็วที่สุด โรคซิฟิลิสคืออะไร ? ซิฟิลิส (Syphilis) เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากแบคทีเรีย ทรีโพนีมา แพลลิดัม (Treponema pallidum) พบได้บ่อย และสามารถ เกิดผลข้างเคียงที่รุนแรงได้ แต่หากได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆ ก็สามารถรักษาได้อย่างรวดเร็ว โรคซิฟิลิส ติดต่อได้อย่างไร ? ซิฟิลิสติดต่อจากคนสู่คนได้โดยง่าย จากการสัมผัส จูบ กอด เพศสัมพันธ์ สามารถติดผ่านผิวหนังและเยื่อบุต่างๆ ได้ ทารกในครรภ์ติดเชื้อจากแม่ผ่านรกได้ สำหรับการติดต่อผ่านเลือด ติดผ่านได้ เช่น การใช้เข็มร่วมกัน การให้เลือด แต่เกิดได้น้อย โรคซิฟิลิสมีกี่ระยะ ? โรคซิฟิลิสแบ่งออกเป็น 4 ระยะ การรักษาโรคซิฟิลิส ผู้ป่วยโรคซิฟิลิสไม่ต้องกังวลไป เพราะหากตรวจพบเชื้อตั้งแต่ระยะต้น ๆ จะสามารถรักษาให้หายขาดได้ โดยการรับประทานยาปฏิชีวนะ เพนนิซิลลิน เป็นเวลา 1-3 สัปดาห์ ทั้งนี้ระยะเวลาการรักษาขึ้นกับระยะของโรคที่เป็นด้วย … Read more

ข้อควรรู้เกี่ยวกับ โรคหนองใน Gonorrhoea

ข้อควรรู้เกี่ยวกับ โรคหนองใน (GONORRHOEA)

โรคหนองใน เป็นอีกหนึ่ง โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่มาจากการมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ได้ป้องกัน จึงสามารถรับเชื้อได้โดยง่ายแบบไม่ทันตั้งตัว และบ่อยครั้งผู้ป่วยมีข้อสงสัยเกี่ยวกับโรคหนองใน  อาการจะรุนแรงมากน้อยแค่ไหน? โรคหนองในเป็นแล้วรักษาได้หรือไม่? เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหนองในมากขึ้น โรคหนองใน (GONORRHOEA) คืออะไร? โรคหนองใน เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่ชื้อว่า (ไนซีเรีย โกโนเรีย) Neisseria gonorrhea  สามารถติดต่อได้ทั้งชาย และหญิงรวมทั้งทารกแรกเกิด โรคหนองในสามารถก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆ ที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย เช่น การตั้งครรภ์นอกมดลูก เป็นหมัน หรืออาการอักเสบในอุ้งเชิงกราน เป็นต้น โรคหนองในสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ ระยะฟักตัวของโรค หลังจากที่ได้รับเชื้อ ก็มักจะแสดงอาการภายใน 2 – 10 วัน แต่โดยทั่วไปแล้วจะแสดงอาการภายใน 5 วัน สาเหตุของโรคหนองใน เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่ชื่อ ไนซีเรีย โกโนเรีย (Neisseria gonorrhoeae) หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า โกโนค็อกคัส (Gonococcus ) ซึ่งสามารถตรวจพบได้ในน้ำอสุจิและน้ำในช่องคลอด  จึงทำให้เชื้อโรคนี้แพร่ผ่านและติดต่อทางการมีเพศสัมพันธ์เป็นหลัก อาการโรคหนองใน โรคหนองใน ในผู้ชายมีอาการอย่างไร? หนองในในผู้หญิง มีอาการอย่างไร? นอกจากนี้การติดเชื้อหนองในแท้ที่บริเวณอื่น ๆ … Read more

หนองใน เกิดขึ้นเองได้ไหม

หนองใน เกิดขึ้นเองได้ไหม

หนองใน เป็นหนึ่งในโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่ถูกตรวจพบเป็นอันดับต้น ๆ ประมาณร้อยละ 40 ของโรคติดต่อที่มาจากกิจกรรมทางเพศทั้งหมด ที่จริงแล้ว สามารถเกิดขึ้นได้ทุกเพศ ไม่จำกัดเฉพาะชาย หรือหญิง โดยเฉพาะกลุ่มที่มีความเสี่ยงอายุตั้งแต่ 15 – 24 ปี หนองใน ไม่สามารถเกิดขึ้นเองได้ การติดต่อของเชื้อนี้ ผู้นั้นจะต้องได้รับความเสี่ยงมา โดยเฉพาะการมีเพศสัมพันธ์ถึงจะติดเชื้อได้ เราจึงเน้นย้ำถึงความสำคัญของ การตรวจโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์บ่อยๆ เพราะเราไม่รู้ว่าใครมีเชื้อโรคอะไรอยู่ในร่างกายหรือไม่ และ จะสามารถไว้ใจในคู่นอนของคุณได้แค่ไหน เมื่อพิจารณาจากประเด็นเหล่านี้ วันนี้ เรามาเรียนรู้ และเข้าใจเกี่ยวกับโรคหนองในเพิ่มเติมกันครับ หนองใน มีกี่ประเภท หนองในมีหลายประเภท โดยอาจแบ่งตามลักษณะของหนอง และสาเหตุที่เกิดขึ้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ปัจจัยไหนบ้าง? ที่เสี่ยงติดหนองใน ถ้าไม่อยากเป็นหนองในต้องป้องกันอย่างไร สวมถุงยางอนามัย ไม่ว่าจะเป็น คู่นอนประจำ แฟนของคุณ ทั้งการมีเพศสัมพันธ์ทางช่องคลอด ทวารหนัก การออรัลเซ็กส์ ก็ควรสวมทุกครั้ง งดการใช้ของใช้ส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น เพราะเราไม่รู้ว่าใครมีโรคติดต่ออะไรอยู่หรือไม่ ก่อนและหลังมีเพศสัมพันธ์ ควรทำความสะอาดอวัยวะเพศและร่างกายให้เรียบร้อย หมั่นตรวจหาเชื้อไวรัสเอชไอวี … Read more

กามโรค อาการเป็นแบบไหน

กามโรค อาการเป็นแบบไหน

หลายคนสงสัยว่าถ้าหากติด กามโรค หรือโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ขึ้นมาแล้ว จะมีอาการประมาณไหนที่จะชี้ชัดไปได้เลยว่าเป็นโรคจริงๆ กามโรค จริงๆ ชื่อก็บอกอยู่แล้วว่าเป็น โรคที่เกิดจากการมีเพศสัมพันธ์ ไม่ว่าจะเป็นทางช่องคลอด ทางทวารหนัก หรือการทำรักทางปาก (Oral Sex) ก็ตาม ส่วนใหญ่จะติดต่อผ่านการสัมผัสผิวหนัง บาดแผลที่มีเชื้อ เลือด หรือสารคัดหลั่ง ซึ่งในบางครั้งอาจถูกถ่ายทอดมาจากคุณแม่ตั้งครรภ์ที่มีเชื้อกามโรค และทำให้เชื้อถูกส่งต่อไปยังทารกน้อยได้ กามโรค มีอาการแบบไหนบ้าง คนที่ติดเชื้อกามโรค อาจพบอาการที่แตกต่างกันออกไป ตามแต่ชนิดของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่ได้รับเชื้อมา และมักจะพบรอยโรคบริเวณอวัยวะเพศ แล้วค่อยๆ ลุกลามไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกายต่อไปหากไม่ได้ทำการรักษา ซึ่งบางรายอาจไม่มีอาการใดๆ ปรากฏให้เห็นเลย จึงเป็นการยากที่เจ้าตัวจะรู้ว่าติดเชื้อเรียบร้อยแล้ว ทั้งนี้ อาการที่ถูกตรวจพบบ่อยๆ และสามารถสันนิษฐานได้ว่าเป็นกามโรค ได้แก่ ซึ่งหากพบว่ามีอาการ ดังที่กล่าวมาแล้วข้างต้น ให้รีบไปพบแพทย์เพื่อทำการตรวจหาเชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ทันที เพื่อเข้าสู่กระบวนการรักษาอย่างรวดเร็วและทำให้หายขาดจากโรคได้ง่าย สาเหตุที่ทำให้ติดกามโรค กามโรค เกิดจากเชื้อที่ติดต่อกันผ่านเซ็กส์ ได้แก่ เชื้อไวรัส เชื้อแบคทีเรีย เชื้อปรสิต นอกจากนี้ การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัยยังเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้เกิดการติดเชื้อโรคชนิดอื่นได้ เช่น โรคบิดจากเชื้อชิเกลล่า โรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไกอาร์เดีย เป็นต้น โดยปัจจัยเสี่ยงที่ถูกพบว่าทำให้ติดโรคได้มากที่สุด มีดังนี้ จะรู้ได้ยังไงว่าเป็นกามโรคไหน โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ จำเป็นจะต้องให้แพทย์เป็นผู้วินิจฉัยจากการซักประวัติผู้ป่วยเบื้องต้น … Read more

ภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ ไม่ใช่เรื่องเล็กๆ

ภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ ไม่ใช่เรื่องเล็กๆ

ภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ หรือภาษาอังกฤษเรียกว่า Pelvic Inflammatory Disease : PID คือ การติดเชื้อที่ระบบสืบพันธุ์ของเพศหญิง เช่น มดลูก รังไข่ ท่อนำไข่ เยื่อบุช่องท้องในอุ้งเชิงกราน ซึ่งมีสาเหตุหลากหลายปัจจัยด้วยกัน แต่มักจะมาจากการมีเซ็กส์ที่ไม่ปลอดภัยเป็นส่วนใหญ่ เช่น โรคหนองในแท้ หรือหนองในเทียมที่บริเวณช่องคลอดและปากมดลูก และหากไม่ได้รับการรักษาจะก่อให้เกิดโรคลุกลามไปยังระบบอื่นๆ บริเวณอวัยวะเพศได้ จากสถิติจะพบในผู้หญิงที่มีอายุตั้งแต่ 18-25 ปีขึ้นไป อุ้งเชิงกราน คืออะไร อุ้งเชิงกราน คือส่วนบริเวณช่องท้องของร่างกายที่สามารถแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนที่อยู่เหนือกระดูกเชิงกรานขึ้นไป และส่วนที่อยู่ต่ำกว่ากระดูกเชิงกรานลงมา ส่วนที่อยู่ต่ำกว่านั้นเราเรียกว่า “อุ้งเชิงกราน” ถ้ามองจากภายนอกก็จะเป็นบริเวณท้องน้อยนั่นเอง สาเหตุที่ทำให้เกิด ภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ อาการของ ภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ อาการของภาวะนี้อาจจะยังไม่มีแสดงให้เห็นในช่วงแรกที่ติดเชื้อแล้ว แต่ถ้าหากมีการลุกลามของเชื้อแบคทีเรียเพิ่มมากขึ้น ก็อาจมีอาการ ดังต่อไปนี้ การตรวจวินิจฉัย ภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ เมื่อคุณไปพบแพทย์เฉพาะทาง นอกจากการซักประวัติเบื้องต้นแล้ว แพทย์อาจเลือกใช้หลายวิธีในการตรวจประกอบกัน เพื่อให้แน่ใจว่าคุณมีภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบจริงๆ ได้แก่ ขั้นตอนการรักษาภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบ หากผู้ป่วยที่มีภาวะอุ้งเชิงกรานอักเสบยังมีอาการที่ไม่รุนแรง แพทย์จะใช้การรักษาด้วยยาปฏิชีวนะ ชนิดรับประทาน แต่หากยาชนิดทานไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร … Read more